วิสัยทัศน์:
การปศุสัตว์สกลนครเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
 
พันธกิจ:
 

  1. ส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปศุสัตว์
  2. สร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าปศุสัตว์และกระบวนการผลิตที่มีคุณภาพปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
  3. ควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาทำให้สัตว์ปลอดโรคผู้บริโภคปลอดภัย
  4. กำกับ ดูแลให้เป็นไปตามกฎหมาย หลักสวัสดิภาพสัตว์ และมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
  5. วิจัย พัฒนา ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
  6. อนุรักษ์และพัฒนาการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพด้านการปศุสัตว์

 
ค่านิยมร่วม :   มุ่งเน้นคุณภาพ คุณค่า และธรรมาภิบาล
 
หลักการยุทธศาสตร์ :
 
 

  1. ปศุสัตว์เพื่อเกษตรกร :
  2. 1 เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
  3. 2 เกษตรกรมีความเข้มแข็งในการประกอบอาชีพปศุสัตว์
  4. 3 อาชีพปศุสัตว์มีขีดความสามารถในการแข่งขัน

2.    ปศุสัตว์เพื่อประชาชน :
          2.1 ผลผลิตปศุสัตว์มีคุณภาพปลอดภัย และเพียงพอต่อความต้องการ  
         2.2 การผลิตปศุสัตว์เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
         2.3 ประชาชนปลอดภัยจากโรคสัตว์ติดคน
3.    ปศุสัตว์เพื่อเศรษฐกิจ : 
3.1 ส่งเสริมและสนับสนุน สร้างคุณค่า ยกระดับคุณภาพ และมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าปศุสัตว์และกระบวนการผลิตปศุสัตว์
3.2 ทำการปศุสัตว์ให้เป็นส่วนสำคัญในการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ
3.3 บูรณาการภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทำให้ตลาดสินค้าปศุสัตว์เติบโตอย่างมีเสถียรภาพรองรับประชาคมอาเซียน
 
 
 

 เป้าประสงค์หลัก ตัวชี้วัดหลัก ค่าเป้าหมาย ประเด็นยุทธศาสตร์ :
ภาคปศุสัตว์เติบโตอย่างมีคุณภาพในวิถียั่งยืน เกษตรกรมีความเข้มแข็งในการประกอบอาชีพ และมีรายได้เพิ่มขึ้น มูลค่าเพิ่มด้านปศุสัตว์ของจังหวัด สกลนครเป็น 2 พันล้านบาท ภายในปี 2560  ร้อยละที่เพิ่มขึ้นต่อปีของมูลค่าผลิตภัณฑ์ภาคปศุสัตว์(GPP)  เฉลี่ยร้อยละ 4
  1. เร่งเพิ่มศักยภาพ เพิ่มประสิทธิภาพ และเพิ่มผลผลิต  ปศุสัตว์ที่มีคุณภาพแข่งขันได้ สอดคล้องตามความต้องการและกลไกตลาด
 
  1. สร้างเสริมความเข้มแข็งให้กับภาคีเครือข่ายการผลิต การประกอบการ การกระจาย และการขยายตลาดสินค้าปศุสัตว์ทั้งในประเทศและส่งออก
 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นต่อปีของรายได้ด้านปศุสัตว์ต่อครัวเรือนของเกษตรกรเป้าหมายที่ได้รับบริการจากหน่วยงานของกรมปศุสัตว์ เฉลี่ยร้อยละ 15
ความพึงพอใจของเกษตรกร/ผู้ใช้บริการ   ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ภายในปี 2560

 
 
ประเด็นยุทธ์ศาสตร์ที่  1
 
เร่งเพิ่มศักยภาพ เพิ่มประสิทธิภาพ และเพิ่มผลผลิตปศุสัตว์ที่มีคุณภาพแข่งขันได้สอดคล้องตามความต้องการและกลไกตลาด
 
เป้าประสงค์ :
 

  1. เกษตรกรได้รับการพัฒนาและเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน สามารถเพิ่มผลิตภาพ ลดต้นทุน สร้างคุณค่า เพิ่มคุณภาพและมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตปศุสัตว์
  2. ภาคการผลิตปศุสัตว์มีรายได้เพิ่มขึ้น จากการสร้างมูลค่าเพิ่ม และสามารถตอบสนองความต้องการและกลไกตลาดเป็นอย่างดี   มองตลาดและนวัตกรรมการผลิตใหม่  มีระบบโลจีสติกส์ที่มีประสิทธิภาพ
  3. สินค้าปศุสัตว์และกระบวนการผลิตมีคุณภาพ ปลอดภัย ได้มาตรฐาน เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

 
 
                                                                                          
 
ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 2
 
สร้างเสริมความเข้มแข็งให้กับภาคีเครือข่ายการผลิต การประกอบการ  การกระจาย และการขยายตลาดสินค้าปศุสัตว์ทั้งในประเทศและส่งออก
 
เป้าประสงค์ :
 

  1. สร้างความร่วมมือในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปศุสัตว์  ตลอดจนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ให้เกษตรกรได้รับผลตอบแทนสูง และเป็นธรรมต่อผู้บริโภค
  2. สร้างเครือข่ายการผลิต การตลาดสู่ผู้บริโภค ทั้งในประเทศและส่งออก เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
  3. ร่วมกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้องจัดการผลผลิตปศุสัตว์อย่างสมดุลเพื่อความมั่นคงอาหาร
  4. สร้างเสริมการเชื่อมโยงภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยี นวัตกรรมและบริการสมัยใหม่ โดยเน้นความปลอดภัยของผู้บริโภค

 
กลยุทธ์หลัก:
 

  1. เร่งส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเกษตรกร/องค์กรเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง
  2. ลดต้นทุนการผลิตปศุสัตว์
  3. ยกระดับคุณภาพสินค้าปศุสัตว์
  4. สร้างเสริมประสิทธิภาพการตลาด
  5. สร้างเสริมการบริหารจัดการที่ดี

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ประเด็นยุทธ์ศาสตร์ที่  1
 
เร่งเพิ่มศักยภาพ เพิ่มประสิทธิภาพ และเพิ่มผลผลิตปศุสัตว์ที่มีคุณภาพแข่งขันได้สอดคล้องตามความต้องการและกลไกตลาด
 
 

มิติเป้าประสงค์ตัวชี้วัดค่าเป้าหมาย
2557255825592560
ด้านประสิทธิผล
  1. รายได้ภาคปศุสัตว์เพิ่มขึ้น
1). มูลค่าผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เพิ่มขึ้น ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 4 4.5 5 5.5
  2). เกษตรกรเป้าหมายมีรายได้ด้านปศุสัตว์เฉลี่ยต่อครัวเรือนเพิ่มขึ้น ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 20 20 20 20
ด้านคุณภาพการให้บริการ
  1. ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ
3). ร้อยละของผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อกระบวนการ  
     ให้บริการของหน่วยงาน
70 75 80 85
ด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ
  1. ลดขั้นตอนในการดำเนินงาน
4). จำนวนกระบวนงานที่สามารถลดขั้นตอน 3 3 3 3
  1. ลดรอบระยะเวลาในการให้บริการ
5). ร้อยละความสำเร็จในการลดรอบระยะเวลาของขั้นตอนการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน 10 10 10 10
ด้านการพัฒนาองค์กร
  1. การพัฒนาระบบการจัดการความรู้
6). ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการอบรมเพื่อเพิ่มทักษะใหม่ 20 30 40 50
7). จำนวนชั่วโมงการฝึกอบรมเพิ่มทักษะใหม่ต่อคนต่อปี 2 3 4 5
  1. มีคู่มือปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ
8). ร้อยละของคู่มือปฏิบัติงานที่มีคุณภาพครบถ้วนทุกกระบวนงาน 70 80 90 100
  1. การพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยง
9). ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง 2 3 4 5
8.  หน่วยงานมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยใช้ในการบริหารและบริการ 10). ร้อยละความสำเร็จของแผนการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติงาน 20 30 40 50

 
 
 
 
 
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  2
 
สร้างเสริมความเข้มแข็งให้กับภาคีเครือข่ายการผลิต การประกอบการ  การกระจาย และการขยายตลาด สินค้าปศุสัตว์ทั้งภายในประเทศและส่งออก
 
 

มิติเป้าประสงค์ตัวชี้วัดค่าเป้าหมาย
2557255825592560
ด้านประสิทธิผล
  1. เป็นแกนกลางเชื่อมโยงภาคปศุสัตว์ระดับอาเซียน
1). ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานพัฒนาตลาดปศุสัตว์ออนไลน์ 2 3 4 5
ด้านประสิทธิผล
  1. ภาคีเครือข่ายการปศุสัตว์เข้มแข็ง
2). ร้อยละความสำเร็จของภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาปศุสัตว์สกลนคร 70 75 80 85
ด้านคุณภาพการให้บริการ 3. ข้อมูลข่าวสารที่ตรงความต้องการ 3). ร้อยละความพึงพอใจของผู้ที่ใช้บริการ 70 75 80 85
4). ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับบริการข้อมูลข่าวสาร 70 75 80 85
ด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ 4. สร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 5). จำนวนความร่วมมือที่เกิดขึ้น 2 3 4 5
ด้านการพัฒนาองค์กร 5. บุคลากรที่มีทักษะ 6). ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบการจัดการความรู้ในองค์กร 2 3 4 5
6. การพัฒนาระบบฐานข้อมูล 7). ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบฐานข้อมูล 2 3 4 5
  1. หน่วยงานมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยใช้ในการบริหาร และบริการ
8). ร้อยละความสำเร็จของแผนการนำเทคโนโลยี 20 30 40 50
      สารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติงาน        

 
 
 
 
 
 

แผนที่กลยุทธ์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก ค่าเป้าหมาย แผนงาน/โครงการสำคัญ
วิสัยทัศน์ : การปศุสัตว์สกลนครเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มิติ แผนที่กลยุทธ์ ตัวชี้วัดหลัก ค่าเป้าหมาย แผนงาน/โครงการที่สำคัญและเร่งด่วน
2557 2558 2559 2560
ด้านประสิทธิ ผล  
รายได้ภาคปศุสัตว์เพิ่มขึ้น
1. มูลค่าผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เพิ่มขึ้น ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 4 4.5 5 5.5 1. Smart farmers
  2. เกษตรกรเป้าหมายมีรายได้ด้านปศุสัตว์เฉลี่ยต่อครัวเรือนเพิ่มขึ้น 20 20 20    20 2. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าปศุสัตว์
        ไม่ต่ำกว่าร้อยละ         3.พัฒนาคุณภาพสินค้าปศุสัตว์และกระบวนการผลิตสู่มาตรฐาน
              4.ส่งเสริมสินค้าปศุสัตว์และอุตสาหกรรมอาหาร
   
ผลผลิตปศุสัตว์     มีมูลค่าเพิ่มขึ้น
          5.เร่งผลิตเนื้อโคขุนโพนยางคำ โคดำภูพาน สู่อาเซียน
            6.ส่งเสริมการผลิตและแปรรูปไก่ดำภูพานจำหน่ายทั่วไทย
            7.อีโคมิลค์สกลนคร (sakolnakorn eco milk)
              8.ส่งเสริมการทำปศุสัตว์อินทรีย์วิถีพื้นบ้าน
              9.จัดการมลภาวะจากการปศุสัตว์ (zero waste)
              10.รณรงค์การบริโภคเนื้อ นม ไข่เพื่อสุขภาพมนุษย์
              11.ตลาดปศุสัตว์ออนไลน์ (E-Livestock Marketing)
              12.ตลาดเกษตรกร
ด้านคุณภาพการให้บริการ  
ผู้ใช้/ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ
ข้อมูลข่าวสารตรงตามต้องการ
3. ร้อยละความพึงพอใจของผู้ที่ใช้บริการ/ผู้รับบริการ 70 75 80 85 13.เครือข่ายปศุสัตว์สัมพันธ์
  4. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับบริการข้อมูลข่าวสาร
 
70 75 80 85 14.จัดทำฐานข้อมูลการผลิตปศุสัตว์เพื่อส่งเสริมการจำหน่าย
ด้านประสิทธิ ภาพารปฏิบัติราชการ  
สร้างความร่วมมือกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
5. จำนวนความร่วมมือที่เกิดขึ้น 2 3 4 5 15.จัดทำความร่วมมือระหว่างหน่วยงานกับผู้มีส่วนได้เสีย
 
ลดขั้นตอนการดำเนินงาน
6. ร้อยละความสำเร็จในการลดรอบระยะเวลาของขั้นตอนการปฏิบัติงาน 10 10 10 10 16.E-Livestock office
7. จำนวนกระบวนงานที่สามารถลดขั้นตอน 3 3 3 3 16.E-Livestock office
ด้านการพัฒนาองค์กร  
หน่วยงานมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยใช้ในการบริหารและบริการ
8. ร้อยละความสำเร็จของแผนการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติงาน 20 30 40 50 16.E-Livestock office
  9. ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง 2 3 4 5 17.บริหารจัดการความเสี่ยงร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย
  10. ร้อยละของคู่มือปฏิบัติงานครบถ้วนทุกกระบวนงาน 70 80 90 100 18.E-manual
 
มีคู่มือปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ
การพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยง
11. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบการจัดการความรู้ในองค์กร 5 5 5 5 19.Morning talk
  12. ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการอบรมเพื่อเพิ่มทักษะใหม่ 20 30 40 50 20.Smart Livestock Officers
  13. จำนวนชั่วโมงการฝึกอบรมเพิ่มทักษะใหม่ต่อคนต่อปี 2 3 4 5 21.จัดอบรมพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง
 
การพัฒนาระบบ KM
บุคลากรที่มีทักษะ
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
14. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบฐานข้อมูล 2 3 4 5 22.ศูนย์ข้อมูลปศุสัตว์ดิจิทัล
              ( Sakon nakhon e-Livestock Information Promotion for saling : http//www. SELIPS)